วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.2555
- ส่งแผนตามหน่วย ของกลุ่มตัวเอง
- อาจารย์ให้นักศึกษานำกล่องขึ้นมา
- อาจารย์ถามคำถาม และให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น
- เห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร ( ริบบิ้น, หุ่นยนต์, ของขวัญ, ฯลฯ)
- เห็นกล่องแล้วอยากให้เป็นอะไร (บ้าน, ตึก, ต้นไม้, ฯลฯ) เป็นการเชื่อมโยงความรู้สึกของตัวเอง
- กล่องเอาไว้ใช้ทำอะไรได้บ้าง (ใส่รองเท้า, ทำของเล่น, กระเป๋า, บล็อก, ใส่ดินสอ, ใส่ทิชชู, ฯลฯ)
เป็นเศษวัสดุที่นำมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด
- แทนสาระหน่วยกล่อง
การเล่น คือ การลงมือด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก และกำหนดทิศทางจัดให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้
- นอกจากรูปทรงแล้ว เด็กสามารถเรียนรู้อะไรได้อีก
ขนาด = ใหญ่, เล็ก, สั้น, ยาว
ประเภท = ไว้ใส่ของใช้, ไว้ใส่ของกิน, ปริมาณ, น้ำหนัก
การวัด = ความยาว, จำนวน
เปรียบเทียบ = ขนาด, จำนวนกล่อง
เรียงลำดับ = จากน้อย-มาก, จากมาก-น้อย, จากเล็ก-ใหญ่, จากใหญ่-เล็ก
จับคู่ = รูปทรงเหมือนกัน, ขนาดเท่ากัน
ทำตามแบบ = เรียงแบบอนุกรม
เซต =
เศษส่วน = แยกประเภท แบ่งครึ่งของทั้งหมด, แบ่งครึ่ง
การอนุรักษ์ =
- อาจารย์ให้นักศึกษาจับกลุ่ม 5 คน แล้วนำกล่องของตัวเองมาต่อกันเปงรูปอะไรก็ได้ ตามความคิดอิสระของตัวเอง
- นำผลงานของแต่ละกลุ่มวางเรียงไว้บนโต๊ะ และอาจานย์ถามกล่องของแต่ละคนตั้งแต่กล่องแรกจนถึงกล่องสุดท้ายว่า แต่ละคนคิดว่าจะต่อเป็นอะไร
- ให้นักศึกษานำผลงานของกลุ่มตัวเอง มาคิดแสดงความคิดเห็นและดัดแปลงว่าจะประกอบเป็นอะไรดี
- อาจารย์ให้นักศึกษาคิดจินตนาการจำลองเป็นสถานที่ แล้วนำผลงานของแต่ละกลุ่มมาวางตามตำแหน่งนั้นๆ
- อาจารย์ให้นักศึกษาจับกลุ่ม 5 คน แล้วนำกล่องของตัวเองมาต่อกันเปงรูปอะไรก็ได้ ตามความคิดอิสระของตัวเอง
- ให้นักศึกษานำผลงานของกลุ่มตัวเอง มาคิดแสดงความคิดเห็นและดัดแปลงว่าจะประกอบเป็นอะไรดี
- อาจารย์ให้นักศึกษาคิดจินตนาการจำลองเป็นสถานที่ แล้วนำผลงานของแต่ละกลุ่มมาวางตามตำแหน่งนั้นๆ